ใบงาน เรื่องระบบคอมพิวเตอร์

ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์ แล้วโพสต์คำตอบที่ค้นคว้า ลงในหน้านี้ จากนั้นนำคำตอบที่ได้ จากการแลกเปลี่ยนกับเพื่อน  ไปเขียนตอบคำถามลงในสมุด ดังนี้

1.  ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
2.  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
3.  การจัดเก็บข้อมูลเก็บอยู่ในรูปแบบใด
4.  อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรบ้่าง
5.  ข้อมูลและสารสนเทศ ต่างกันอย่างไร
6.  คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำงานอย่างไร
7.  รูปแบบการรับ – ส่งข้อมูล มีกี่ชนิด อะไรบ้าง

  1. ลัดดา เพ็ชสังฆาต ม.5/2 เลขที่ 40

    1. ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
    ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ
    -ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
    -ซอฟต์แวร์ (Software)
    -บุคลากร (Peopleware)

  2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    – ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
    ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
    เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์

  3. ศฤงคาร แสนอาวรณ์ ม.5/2 เลขที่ 15

    5. ข้อมูลและสารสนเทศ ต่างกันอย่างไร
    ข้อมูล เป็นส่วนของข้อเท็จจริง ยังไม่ได้ผ่านการตัดสินใจ ส่วนสารสนเทศ จะนำข้อมูลมาผ่านการตัดสินใจ นำไปใช้ทันที

  4. สุนิษา ตามประสี ม.5/2 เลขที่ 24

    4. อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรบ้่าง

    1.แรม
    RAM ย่อมาจากคำว่า RandomAccessMemory

    2.ซีพียู CPU
    ซีพียู CPU (Central Processing Units) หรือ หน่วยประมวลผลกลาง

    3.เมนบอร์ด
    เมนบอร์ด (Mainboard, mother board) หรือ แผงวงจรหลัก

    4.สแกนเนอร์ (Scanner)
    คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมา

  5. สุรชัย สีนิล ม.5/2 เลขที่ 1
    1. ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
    ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะ
    มีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ
    -ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
    -ซอฟต์แวร์ (Software)
    -บุคลากร (Peopleware)

  6. ฉัตรชัย ไชยหาญ ม.5/2 เลขที่9
    6.คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำงานอย่างไร
    กระบวนการทำงาน (Procedure) หมายถึง ขั้นตอนการทำงานที่กำหนดเพื่อให้ผู้ใช้ปฏิบัติตาม ซึ่งอาจจัดทำเป็นคู่มือการใช้งาน (User Manual)

    ◦รับข้อมูลเข้า (Input)
    ◦ประมวลผล (Process)
    ◦แสดงผล (Output)
    ◦จัดเก็บข้อมูล (Storage)

  7. ศรัณย์พร แป้นโก๋ ม.5/2 เลขที่ 32

    2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์และชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่ภายในเป็นส่วนใหญ่ และสามารถจับต้องได้ ตัวอย่างเช่น ซีพียู เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์ ลำโพง แผงเมนบอร์ดฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม เป็นต้น
    ส่วน
    ซอฟต์แวร์ (software) คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์

  8. ทัศนัย ชำนาญนา ม.5/2 เลขที่ 2
    2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    – ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
    ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
    -ซอฟต์แวร์ (software)
    หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้

  9. ระบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบหลัก ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะทำงานได้ ระบบของคอมพิวเตอร์นี้ประกอบไปด้วย องค์ประกอบหลักที่สำคัญ 3 ส่วนคือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์

  10. จุฑามาส ดวงมาลัย ม.5/2 เลขที่ 16

    6. คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำงานอย่างไร

    1. หน่วยรับเข้า เป็นจุดเริ่มต้นโดยผู้ใช้ป้อนข้อมูล ระบุโปรแกรม เลือกคำสั่ง และแสดงการตอบสนอง เช่น เปิดเครื่องเลือกโปรแกรม และพิมพ์งานด้วยแป้นพิมพ์ปรากฎบนหน้าจอ
    2. หน่วยเก็บความจำ มี 2 ประเภท คือ
    1. หน่วยความจำสำรอง เป็นตัวเก็บสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา
    2. หน่วยความจำหลัก เมื่อสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา มีคำสั่งให้ประมวลผลข้อมูลเหล่านี้จะ
    ถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลก่อน แล้วจึงถูกส่งมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก
    3. หน่วยประมวลผล เป็นหน่วยที่นำข้อมูลที่ได้รับมาคำนวณตามคำสั่่ง
    แล้วส่งผลไปเก็บยังหน่วยความจำหลัก
    4. หน่วยส่งออก มีหน้าที่แสดงผลของข้อมูลที่จัดเก็บ และผลที่ได้จากการประมวลผล
    แล้วส่งออกมาในรูปของรายงาน ภาพ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ

  11. นางสาว ศิริพร ชูแสง ม.5/2 เลขที่ 19

    6.คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำงานอย่างไร
    คอมพิวเตอร์ทำงานโดยมีกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้

    คอมพิวเตอร์ทำงานโดยมีกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้

    1.หน่วยรับเข้า เป็นจุดเริ่มต้นโดยผู้ใช้ป้อนข้อมูล ระบุโปรแกรม เลือกคำสั่ง และแสดงการตอบสนอง เช่น เปิดเครื่องเลือกโปรแกรม และพิมพ์งานด้วยแป้นพิมพ์ปรากฎบนหน้าจอ
    2.หน่วยเก็บความจำ มี 2 ประเภท คือ

    1.หน่วยความจำสำรอง เป็นตัวเก็บสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา
    2.หน่วยความจำหลัก เมื่อสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา มีคำสั่งให้ประมวลผลข้อมูลเหล่านี้จะ
    ถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลก่อน แล้วจึงถูกส่งมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก

    3.หน่วยประมวลผล เป็นหน่วยที่นำข้อมูลที่ได้รับมาคำนวณตามคำสั่่ง
    แล้วส่งผลไปเก็บยังหน่วยความจำหลัก
    4.หน่วยส่งออก มีหน้าที่แสดงผลของข้อมูลที่จัดเก็บ และผลที่ได้จากการประมวลผล
    แล้วส่งออกมาในรูปของรายงาน ภาพ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ

  12. นางสาว สุพรรษา พานิชกุล ม.5/2 เลขที่20

    2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    – ฮาร์ดแวร์ (Hardware)เป็นเครื่องมือในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ รวมทั้งอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ เช่น เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ ซีพียู ฯลฯ
    – ซอฟต์แวร์ (Software) เป็นโปรแกรมต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์ เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จะช่วยในการแก้ปัญหาจากต้นจนจบ ทำงานรายละเอียดทุกขั้นตอน โปรแกรมเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำภายในซีพียู หลังจากนั้นเครื่องจะทำงานตามโปรแกรมภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม

  13. พิมจิตร สมดี ม.5/2 เลขที่18

    2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์

  14. ขวัญนภา นาคจันทร์ ม.5/2 เลขที่ 23
    3.การจัดเก็บข้อมูลเก็บอยู่ในรูปแบบใด
    การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การเก็บรักษาข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยการเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะทำด้วยมือ ซึ่งเป็นแฟ้ม เอกสารหรือ ด้วยคอมพิวเตอร์ ในรูปของแฟ้มข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล พอจะแบ่งเป็น 7 ประเภท

    1.แฟ้มข้อมูลหลัก เป็นเพื่อที่เก็บข้อมูลที่บรรจุข้อมูลหลักซึ่งอาจจะแยกออกเป็ยแต่ละงาน

    2.แฟ้มข้อมูลย่อย เป็นแฟ้มที่รวบรวมขึ้นมาใหม่ล่าสุดสำหรับการปลับข้อมูลหลักให้เป็นปัจจุ

    3.แฟ้มดัชนี เป็ยแฟ้มเก็บดัชนีคล้ายๆกับบัตรรายการ

    4.แฟ้มตรางอ้างอิง เป็นการรวบรวมข้อมูลที่ใช้อ้างอิง สำหรับตรวจสอบความถูกต้องเกี่ยวกับมาตรฐาน

    5.แฟ้มข้อมูลสรุป เป็นแฟ้มของการรวบรวมข้อมูลโดยสรุปเพื่อนำเสนอรายงานต่อไป

    6.แฟ้มข้อมูลเก่า เป็นแฟ้มที่ใช้สำหรับการเปรียบเทียบ

    7.แฟ้มข้อมูลศำรอง ในการจัดเก็บข้อมูลโดยสรุปข้อมูลความปลอดภัย ป้องกันความสูญหายของข้อมูลในการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ได้แก่ การจำแนก การจัดเรียง หรือการจัดเก็บตาม

  15. จารุกิตติ์ กล่ำทอง ม5/2 เลขที่ 14

    4.อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรบ้่าง
    สายโทรศัพท์
    สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม
    สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม
    สายโคแอกเชียล
    สายใยแก้วนำแสง
    คลื่นไมโครเวฟ
    ดาวเทียม

  16. พิเชษฐ์ จินตนา ม.5/2 เลขที่3
    1.ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ่าง
    คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ5ส่วนด้วยกัน
    1.ฮาร์ดแวร์
    2.ซอฟต์แวร์
    3.ข้อมูล/สารสนเทศ
    4.บุคคลกร
    5.กระบวนการทำงาน

  17. วรภพ คำดี ม.5/2 เลขที่10
    2.ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    ฮาร์ดแวร์คือ ร่างกาย
    ซอฟต์แวร์ คือ จิตใจ

    จิตใจ จะสั่งให้ร่างกายทำงาน
    ก็คือ ซอฟต์แวร์ จะ สั่งหรือ ควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามที่ซอฟต์แวร์สั่ง
    แต่ฮาร์ดแวร์ ที่อยู่เหนือการควบคุมของซอฟต์แวร์ก็มี

    ถ้ามีแต่จิตใจไม่มีร่างกาย ก็ทำงานไม่ได้ เหมือนคุณมีแผ่นวินโดว์ แต่ไม่มี เครื่องคอม ก็เท่านั้น
    หรือ คุณ มีเครื่องคอม แค่ไม่มีโปรแกรมก็เปล่าประโยชน์

  18. กุสุมา สุขกล้า ม.5/2 เลขที่25
    5.ข้อมูลและสารสนเทศ ต่างกันอย่างไร
    ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น บุคคล สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลต้องถูกต้องแม่นยำครบ
    ถ้วนขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล
    สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการนำข้อมูลดิบมาประมวลผลแล้วมีประโยชน์ในการช่วยตัดสินใจ

    เช่น การคำนวณ การเรียงลำดับ

    ความแตกต่างระหว่างข้อมูลเเละสารสนเทศ

    ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่เกิดจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้ว อาจเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ หรือสถานที่ต่างๆ

    ส่วนสารสนเทศคือการนำข้อมูลมาสรุปอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดชัดเจนกว่า

  19. ชนันชิดา สุกใส ม.5/2 เลขที่ 29
    2.ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร

    1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องมือในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ รวมทั้งอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ เช่น เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ ซีพียู ฯลฯ

    1.1 ไมโครโปรเซสเซอร์
    1.2 หน่วยความจำ
    1.3 อุปกรณ์เก็บข้อมูล
    1.4 อุปกรณ์รับข้อมูล/แสดงผล

    2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์ เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จะช่วยในการแก้ปัญหาจากต้นจนจบ ทำงานรายละเอียดทุกขั้นตอน โปรแกรมเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำภายในซีพียู หลังจากนั้นเครื่องจะทำงานตามโปรแกรมภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม

    ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

    2.1. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
    2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์

  20. เจนจิรา แสงไกร ม.5 /2 เลขที่ 26

    6.คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำงานอย่างไร

    1. หน่วยรับเข้า เป็นจุดเริ่มต้นโดยผู้ใช้ป้อนข้อมูล ระบุโปรแกรม เลือกคำสั่ง และแสดงการตอบสนอง เช่น เปิดเครื่องเลือกโปรแกรม และพิมพ์งานด้วยแป้นพิมพ์ปรากฎบนหน้าจอ
    2. หน่วยเก็บความจำ มี 2 ประเภท คือ
    1. หน่วยความจำสำรอง เป็นตัวเก็บสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา
    2. หน่วยความจำหลัก เมื่อสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา มีคำสั่งให้ประมวลผลข้อมูลเหล่านี้จะ
    ถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลก่อน แล้วจึงถูกส่งมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก
    3. หน่วยประมวลผล เป็นหน่วยที่นำข้อมูลที่ได้รับมาคำนวณตามคำสั่่ง
    แล้วส่งผลไปเก็บยังหน่วยความจำหลัก
    4. หน่วยส่งออก มีหน้าที่แสดงผลของข้อมูลที่จัดเก็บ และผลที่ได้จากการประมวลผล
    แล้วส่งออกมาในรูปของรายงาน ภาพ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ

  21. กิตติพงศ์ สิงห์วิโรจน์ ม.5/2 เลขที่ 8

    4. อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรบ้่าง
    1.แรม
    RAM ย่อมาจากคำว่า RandomAccessMemoryเป็นหน่วยความจำของระบบมีหน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไป ให้CPUประมวลผลจะต้องมีไฟเข้า Module ของ RAM ตลอดเวลา ซึ่งจะเป็น chipที่เป็น IC ตัวเล็กๆ
    ซีพียู CPU
    2. ซีพียู CPU (Central Processing Units) หรือ หน่วยประมวลผลกลาง คือ ส่วนที่เรียกว่าเป็นหัวใจของเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง เพราะการทำงานทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นการคำนวณ การย้ายข้อมูล การตัดสินใจ ล้วนเกิดขึ้นที่นี่ทั่งสิ้น

  22. น.ส สุนิสา กล้าสาริกรรม ม.5/2 เลขที่ 22
    2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    ฮาร์ดแวร์คือ ร่างกาย
    ซอฟต์แวร์ คือ จิตใจ
    จิตใจ จะสั่งให้ร่างกายทำงาน
    ก็คือ ซอฟต์แวร์ จะ สั่งหรือ ควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามที่ซอฟต์แวร์สั่ง
    แต่ฮาร์ดแวร์ ที่อยู่เหนือการควบคุมของซอฟต์แวร์ก็มี

    ถ้ามีแต่จิตใจไม่มีร่างกาย ก็ทำงานไม่ได้ เหมือนคุณมีแผ่นวินโดว์ แต่ไม่มี เครื่องคอม ก็เท่านั้น
    หรือ คุณ มีเครื่องคอม แค่ไม่มีโปรแกรมก็เปล่าประโยชน์

  23. ลัดดา เพ็ชสังฆาต ม.5/3 เลขที่ 50

    5. ข้อมูลและสารสนเทศต่างกันอย่างไร
    ตอบ แตกต่างกันที่ข้อมูล คือ ข่าวสาร ข้อความรูปภาพ เสียง หรือ อะไรต่างๆ ที่อยู่ในหลายๆ รูปแบบซึ่งข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดกลุ่มเรียบเรียงอะไรทั้งสิ้น ยังไม่สามารถนำไปใช้งานได้ จะแตกต่างกับสารสนเทศ คือ เป็นข้อมูลที่ได้รับการกลั่นกรอง หรือ ประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบ หรือ กรรมวิธีต่างๆ แล้ว เป็นข้อมูลที่สะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลที่ดีที่สุด สามารถอ้างอิงและใช้งานได้เลย
    ที่มา: http://siriwadee.blogspot.com/2008/05/blog-post_30.html

  24. นาย ปรีดา คำสูงเนิน ชั้นม.5/3 เลขที่ 27
    6. คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำงานอย่างไร
    คอมพิวเตอร์ทำงานโดยมีกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้

    1. หน่วยรับเข้า เป็นจุดเริ่มต้นโดยผู้ใช้ป้อนข้อมูล ระบุโปรแกรม เลือกคำสั่ง และแสดงการตอบสนอง เช่น เปิดเครื่องเลือกโปรแกรม และพิมพ์งานด้วยแป้นพิมพ์ปรากฎบนหน้าจอ

    2. หน่วยเก็บความจำ มี 2 ประเภท คือ

    1. หน่วยความจำสำรอง เป็นตัวเก็บสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา
    2. หน่วยความจำหลัก เมื่อสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา มีคำสั่งให้ประมวลผลข้อมูลเหล่านี้จะ
    ถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลก่อน แล้วจึงถูกส่งมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก

    3. หน่วยประมวลผล เป็นหน่วยที่นำข้อมูลที่ได้รับมาคำนวณตามคำสั่่ง
    แล้วส่งผลไปเก็บยังหน่วยความจำหลัก
    4. หน่วยส่งออก มีหน้าที่แสดงผลของข้อมูลที่จัดเก็บ และผลที่ได้จากการประมวลผล
    แล้วส่งออกมาในรูปของรายงาน ภาพ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ

  25. ธีรยุทธ ชูยศ ม.5/3 เลขที่ 9

    ฮาร์ดแวร์คือ ร่างกาย
    ซอฟต์แวร์ คือ จิตใจ
    จิตใจ จะสั่งให้ร่างกายทำงาน
    ก็คือ ซอฟต์แวร์ จะ สั่งหรือ ควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามที่ซอฟต์แวร์สั่ง
    แต่ฮาร์ดแวร์ ที่อยู่เหนือการควบคุมของซอฟต์แวร์ก็มี ถ้ามีแต่จิตใจไม่มีร่างกาย ก็ทำงานไม่ได้ เหมือนคุณมีแผ่นวินโดว์ แต่ไม่มี เครื่องคอม ก็เท่านั้นหรือ คุณ มีเครื่องคอม แค่ไม่มีโปรแกรมก็เปล่าประโยชน์
    ที่มา:http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5d10fd7f2cf779ea

  26. ธีรยุทธ ชูยศ ม.5/3 เลขที่ 9

    2. ฮาร์ดแวร์คือ ร่างกาย
    ซอฟต์แวร์ คือ จิตใจ
    จิตใจ จะสั่งให้ร่างกายทำงาน
    ก็คือ ซอฟต์แวร์ จะ สั่งหรือ ควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามที่ซอฟต์แวร์สั่ง
    แต่ฮาร์ดแวร์ ที่อยู่เหนือการควบคุมของซอฟต์แวร์ก็มี ถ้ามีแต่จิตใจไม่มีร่างกาย ก็ทำงานไม่ได้ เหมือนคุณมีแผ่นวินโดว์ แต่ไม่มี เครื่องคอม ก็เท่านั้นหรือ คุณ มีเครื่องคอม แค่ไม่มีโปรแกรมก็เปล่าประโยชน์
    ที่มา:http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5d10fd7f2cf779ea

  27. นางสาวจิราวรรณ เนียมหอม ม.5/3 เลขที่ 16
    4.ข้อมูลและสารสนเทศ ต่างกันอย่างไร

    แตกต่างกันที่ข้อมูล คือ ข่าวสาร ข้อความรูปภาพ เสียง หรือ อะไรต่างๆ ที่อยู่ในหลายๆ รูปแบบซึ่งข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดกลุ่มเรียบเรียงอะไรทั้งสิ้น ยังไม่สามารถนำไปใช้งานได้ จะแตกต่างกับสารสนเทศ คือ เป็นข้อมูลที่ได้รับการกลั่นกรอง หรือ ประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบ หรือ กรรมวิธีต่างๆ แล้ว เป็นข้อมูลที่สะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลที่ดีที่สุด สามารถอ้างอิงและใช้งานได้เลย

  28. อติคุณ ส้มเกลี้ยง ม.5/3 เลขที่8
    1. ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
    ตอบ ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คืออุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้า อยู่ภายในเป็นส่วนใหญ่ สามารถจับต้องได้ เช่น กล่องซีพียู (Case) จอภาพ (Monitor) แป้นพิมพ์ (Keyboard) สแกนเนอร์(Scanner) เมนบอร์ด (Mainboard) ฮาร์ดดิสก์(Harddisk) เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นต้น 2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือโปรแกรม หรือชุดคำสั่ง ที่สั่งควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ซอฟต์แวร์จะถูกบรรจุอยู่ในสื่อ หรือวัสุดที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ฟอบปี้ดิสก์ , ฮาร์ดดิสก์ , ซีดีรอม , เทปไดร์ฟ และ ดีวีดีรอม เป็นต้น และ 3. พีเพิลแวร์ (Peopleware) คือ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นนักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ผู้เขียน โปรแกรม (Programmer) ผู้ใช้โปรแกรม (User) โดยสรุปก็คือ บุคคลใดก็ตาม ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะถือว่าเป็นพีเพิลแวร์ทั้งสิ้น
    ที่มา:http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=2452491b3a62abf1

  29. นาย พงษ์สญา พุ่มโพ ม.5/3 เลขที่11
    1. ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ

    ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
    ซอฟต์แวร์ (Software)
    บุคลากร (Peopleware)
    ที่มา:http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_06.htm

  30. นางสาว ขนิษฐา แก้วคงขำ ม.5/3 เลขที่ 25
    5. ข้อมูลและสารสนเทศ ต่างกันอย่างไร
    ตอบ แตกต่างกันที่ข้อมูล คือ ข่าวสาร ข้อความรูปภาพ เสียง หรือ อะไรต่างๆ ที่อยู่ในหลายๆ รูปแบบซึ่งข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดกลุ่มเรียบเรียงอะไรทั้งสิ้น ยังไม่สามารถนำไปใช้งานได้ จะแตกต่างกับสารสนเทศ คือ เป็นข้อมูลที่ได้รับการกลั่นกรอง หรือ ประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบ หรือ กรรมวิธีต่างๆ แล้ว เป็นข้อมูลที่สะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลที่ดีที่สุด สามารถอ้างอิงและใช้งานได้เลย
    ที่มา :http://siriwadee.blogspot.com/2008/05/blog-post_30.html

  31. นางสาวพรรณทิวา โฉมศรี ม.5/3 เลขที่ 20

  32. นางสาว นิรชา ปั้นนาค ม.5/3 เลขที่27
    7. รูปแบบการรับ – ส่งข้อมูล มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
    รับส่งข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้ทิศทางเดียว ช่องทางสื่อสารทำหน้าที่รับหรือส่งข้อมูล ได้เพียงอย่างเดียว เช่นช่องทางการส่งข้อมูลจาก ซีพียูไปยังเครื่องพิมพ์ หรือจากซีพียูไปยังจอภาพ เป็นต้น

    รับส่งข้อมูลสองทางโดยสลับเวลารับส่ง (Half-Duplex Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้สองทิศทาง แต่ต้องสลับเวลาในการรับส่งข้อมูล จะส่งและรับในเวลาเดียวกันไม่ได้ เช่น การรับส่งข้อมูลวิทยุ ผู้รับและผู้ส่งต้องสลับกัน ส่งสัญญาณการรับส่งข้อมูลระหว่าง เครื่องสถานีปลายทางไปยังหน่วยประมวลผล เป็นต้น

    รับส่งข้อมูลสองทางในเวลาเดียวกัน (Full -Duplex Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้สองทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ช่องทางการสื่อสารของโทรศัพท์ ผู้รับและผู้ส่งสามารถพูดโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน ช่องทางการสื่อสารแบบนี้นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันนี้
    ที่มา : http://forum.datatan.net/index.php/topic,150.0.html

  33. นางสาวทวศา สุทธิศักดิ์ ม.5/3 เลขที่ 13

    3. การจัดเก็บข้อมูลเก็บอยู่ในรูปแบบใด

    การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การเก็บรักษาข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยการเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะทำด้วยมือ ซึ่งเป็นแฟ้ม เอกสารหรือ ด้วยคอมพิวเตอร์ ในรูปของแฟ้มข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล พอจะแบ่งเป็น 7 ประเภท

    1.แฟ้มข้อมูลหลัก เป็นเพื่อที่เก็บข้อมูลที่บรรจุข้อมูลหลักซึ่งอาจจะแยกออกเป็ยแต่ละงาน

    2.แฟ้มข้อมูลย่อย เป็นแฟ้มที่รวบรวมขึ้นมาใหม่ล่าสุดสำหรับการปลับข้อมูลหลักให้เป็นปัจจุ

    3.แฟ้มดัชนี เป็ยแฟ้มเก็บดัชนีคล้ายๆกับบัตรรายการ

    4.แฟ้มตรางอ้างอิง เป็นการรวบรวมข้อมูลที่ใช้อ้างอิง สำหรับตรวจสอบความถูกต้องเกี่ยวกับมาตรฐาน

    5.แฟ้มข้อมูลสรุป เป็นแฟ้มของการรวบรวมข้อมูลโดยสรุปเพื่อนำเสนอรายงานต่อไป

    6.แฟ้มข้อมูลเก่า เป็นแฟ้มที่ใช้สำหรับการเปรียบเทียบ

    7.แฟ้มข้อมูลศำรอง ในการจัดเก็บข้อมูลโดยสรุปข้อมูลความปลอดภัย ป้องกันความสูญหายของข้อมูลในการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ได้แก่ การจำแนก การจัดเรียง หรือการจัดเก็บตาม

    ที่มา : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=44e46d9d198c572b

  34. นางสาว ทิพย์วรรณ ศรีพูล ม.5/3 เลขที่ 14
    4. อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรอุปกรณ์รับส่งข้อมูล หมายถึงสื่อกลางที่ใช้เป็นเส้นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้รับกับผู้ส่ง ปัจจุบันมีอุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูล สำหรับการเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้หลายประเภทดังนี้

    สายโทรศัพท์ (Telephone Line) สายโทรศัพท์ เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ใช้กันมานาน ในระบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งเป็นสองลักษณะด้วยกันคือ

    สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (Unshield Twisted Pair : UTP) มีลักษณะเป็นสายทองแดงขนาดเล็ก มีฉนวนหุ้ม ในแต่ละคู่บิดเกลียวคู่เข้าด้วยกัน มีฉนวนหุ้มภายนอก ราคาถูก ติดตั้งง่าย มีความน่าเชื่อถือสูงในการเชื่อมต่อแบบ STAR แต่มีข้อเสียคือมีอัตราการส่งข้อมูลต่ำ มีระยะทางการส่งสัญญาณสั้น และสัญญาณรบกวนสูง

    สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shield Twisted Pair : STP) มีลักษณะเป็นสายทองแดง
    ขนาดเล็กตีเกลียวคู่ แต่ละคู่มีฉนวนหุ้มอีกชั้นเรียกว่า Shield เพื่อลดสัญญาณสอดแทรก(interference) และมีฉนวนหุ้มชั้นนอกเรียกว่า Outer Jacket มีข้อดีคือคุณภาพการรับส่งข้อมูลสูงกว่าสายแบบ UTPสัญญาณรบกวนน้อยกว่าสายแบบ UTP แต่ราคาสูงกว่า

    สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียล เป็นสายที่มีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูล ประกอบด้วยสายตัวนำสัญญาณเส้นหนึ่งอยู่ตรงกลาง เรียกว่า Inner Conductor หุ้มด้วยฉนวน Insulator Filter แล้วล้อมรอบด้วยตัวนำอีกชั้นหนึ่งทำหน้าที่เป็นสายดิน (Ground) เรียกว่า Outer Conductor สายโคแอกเชียลมีข้อดีเรื่องความเร็วสูงในการส่งข้อมูล สามารถส่งได้ทั้งสัญญาณเสียงวีดีโอและข้อมูล ติดตั้งง่าย แต่มีข้อเสียที่ราคาแพงและค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงด้วย

    สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) สายใยแก้วนำแสง เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ต้องการความเร็วสูงมาก ในสภาพแวดล้อมที่มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง ลักษณะสายสัญญาณประกอบด้วยเส้นใย (Fiber) ทำจากใยแก้วสองชนิด ที่มีดัชนีการสะท้อนแสงต่างกัน ชนิดหนึ่งเป็นแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก การทำงานจะมีไดโอดเปล่งแสง (LED : Light Emited Diode) หรือไดโอดแบบเลเซอร์ (Laser Diode) ปล่อยแสงที่เข้ารหัสข้อมูล โดยใช้ความถี่จึงสามารถส่งรหัสข้อมูล ได้หลายช่องทางตามความถี่ต่าง ๆ กัน อุปกรณ์รับส่งข้อมูลแบบเส้นใยแก้วนำแสง มีข้อดีคือรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง ใช้แสงในการส่งข้อมูล จึงไม่ต้องระมัดระวังเรื่องสัญญาณไฟฟ้ารบกวน มีการสูญเสียของสัญญาณต่ำ แต่มีข้อเสียคือราคาแพงกว่าสายสัญญาณประเภทอื่น ต้องใช้ความชำนาญในการติดตั้ง รับส่งข้อมูลได้ทางเดียว ต้องใช้สายสัญญาณสองเส้น เพื่อทำหน้าที่รับและส่งข้อมูล

    คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นไมโครเวฟ เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ใช้คลื่นวิทยุชนิดความถี่สูง เรียกว่าคลื่นไมโครเวฟ โดยอาศัยอากาศเป็นสื่อกลาง เหมาะสำหรับการสื่อสารระยะใกล้ ที่ไม่มีตึกหรือภูเขาระดับสูง บังการเดินทางของคลื่น ระหว่างอาคาร โดยต้องมีจานสัญญาณ ติดตั้งไว้บนเสาหรืออาคารสูง ๆ การรับส่งข้อมูลแบบนี้ เหมาะสำหรับบริเวณที่เดินสายลำบาก มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง ข้อเสียคือรับส่งสัญญาณได้ไม่ไกลมากนัก และต้องติดตั้งจานรับส่งสัญญาณบนเสาสูง ที่ไม่มีอาคารกีดขวางในทิศทางตรงกัน

    ดาวเทียม (Satellite) ดาวเทียม เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ใช้ดาวเทียม เป็นสถานีในการรับส่งสัญญาณข้อมูล กับสถานีทวนสัญญาณภาคพื้นดิน รับส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว่า 22,300 ตารางไมล์ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการกีดขวาง สัญญาณของภูมิประเทศ เช่น ภูเขา อาคารสูง สามารถ ส่งสัญญาณครอบคลุมได้ทุกพื้นที่ มีข้อเสียคือต้องลงทุน และใช้เทคโนโลยีระดับสูง
    บ้่าง
    ที่มา http://forum.datatan.net/index.php/topic,149.0.html

  35. สุภัทรา นิลโท ม. 5/3 เลขที่ 24

    ข้อ 4 อุปกรณ์รับข้อมูลของคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง
    .แรม
    RAM ย่อมาจากคำว่า RandomAccessMemoryเป็นหน่วยความจำของระบบมีหน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไป ให้CPUประมวลผลจะต้องมีไฟเข้า Module ของ RAM ตลอดเวลา ซึ่งจะเป็น chipที่เป็น IC ตัวเล็กๆ
    ถูก pack อยู่บนแผงวงจร หรือ Circuit Board เป็น module
    เทคโนโลยีของหน่วยความจำมีหลักการที่แตกแยกกันอย่างชัดเจน 2 เทคโนโลยี คือหน่วยความจำแบบ DDR หรือ Double Data Rate (DDRSDRAM,DDRSGRAM)ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องมาจาก
    เทคโนโลยีของหน่วยความจำแบบSDRAMและSGRAMและอีกหนึ่ง
    คือหน่วยความจำแบบ Rambus ซึ่งเป็นหน่วยความจำที่มีแนวคิดบางส่วนต่างออกไปจากแบบอื่น
    ประเภทของแรม
    เราสามารถแบ่ง แรม ออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

    1. SRAMหรือมาจากคำเต็มว่าStaticRAMซึ่งจะเป็นหน่วยความ จำที่สามารถเก็บข้อมูลได้ตลอดเวลาค่ะโดยที่ไม่ต้องมีการรีเฟรชข้อมูลSRAMจะ มีความเร็วในการทำงานสูงแต่ในขณะเดียวกันSRAMก็จะกินไฟมาก
    และมีราคาแพงกว่าDRAMมากดังนั้นเราจึงไม่นิยมนำมาทำเป็นหน่วยความจำหลักแต่ จะนิยมใช้ SRAM ไปทำเป็นหน่วยความจำแคช หรือ Cache Memory แทน

    2. DRAMหรือมาจากคำ ว่าDynamicRAMซึ่งก็จะเป็นหน่วยความจำที่ต้องมีการรีเฟรชข้อมูลอยู่ตลอดเวลา เลยเพื่อไม่ให้ข้อมูลในหน่วยความจำนั้นสูญหายไป
    สำหรับการรีเฟรช(Refresh)ก็คือข้อมูลที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำชนิดDRAMนี้จะ เก็บอยู่ในรูปของประจุไฟฟ้าซึ่งประจุไฟฟ้านี้จะสูญหายไปถ้าไม่มีการเติม ประจุไฟฟ้าตามระยะเวลาที่กำหนดดังนั้นจึงต้อง มีวงจรสำหรับ
    การทำรีเฟรชหน่วยความจำชนิดDRAMแต่หน่วยความจำชนิดDRAMก็มีข้อดีของมัน เหมือนกันนั่นก็คือมีราคาที่ถูกและสามารถเก็บ ข้อมูลได้มากกว่าด้วยดังนั้นเราจึงนิยมใช้หน่วยความจำชนิด DRAM นี้มาเป็นหน่วยความจำหลัก
    ของระบบคอมพิวเตอร์
    http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0911e1d5101d593b

  36. นางสาวมิ่งขวัญ แย้มวัด ม.5/3 เลขที่ 21

    1. ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง

    ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คืออุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้า อยู่ภายในเป็นส่วนใหญ่ สามารถจับต้องได้ เช่น กล่องซีพียู (Case) จอภาพ (Monitor) แป้นพิมพ์ (Keyboard) สแกนเนอร์(Scanner) เมนบอร์ด (Mainboard) ฮาร์ดดิสก์(Harddisk) เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นต้น 2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือโปรแกรม หรือชุดคำสั่ง ที่สั่งควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ซอฟต์แวร์จะถูกบรรจุอยู่ในสื่อ หรือวัสุดที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ฟอบปี้ดิสก์ , ฮาร์ดดิสก์ , ซีดีรอม , เทปไดร์ฟ และ ดีวีดีรอม เป็นต้น และ 3. พีเพิลแวร์ (Peopleware) คือ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นนักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ผู้เขียน โปรแกรม (Programmer) ผู้ใช้โปรแกรม (User) โดยสรุปก็คือ บุคคลใดก็ตาม ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะถือว่าเป็นพีเพิลแวร์ทั้งสิ้น

    ที่มา : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=2452491b3a62abf1

  37. นางสาวพรรณทิวา โฉมศรี ม.5/3 เลขที่ 20
    6. คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำงานอย่างไร

    คอมพิวเตอร์ทำงานโดยมีกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้

    1. หน่วยรับเข้า เป็นจุดเริ่มต้นโดยผู้ใช้ป้อนข้อมูล ระบุโปรแกรม เลือกคำสั่ง และแสดงการตอบสนอง เช่น เปิดเครื่องเลือกโปรแกรม และพิมพ์งานด้วยแป้นพิมพ์ปรากฎบนหน้าจอ

    2. หน่วยเก็บความจำ มี 2 ประเภท คือ

    1. หน่วยความจำสำรอง เป็นตัวเก็บสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา
    2. หน่วยความจำหลัก เมื่อสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้ามา มีคำสั่งให้ประมวลผลข้อมูลเหล่านี้จะ
    ถูกส่งไปยังหน่วยประมวลผลก่อน แล้วจึงถูกส่งมาเก็บที่หน่วยความจำหลัก

    3. หน่วยประมวลผล เป็นหน่วยที่นำข้อมูลที่ได้รับมาคำนวณตามคำสั่่ง
    แล้วส่งผลไปเก็บยังหน่วยความจำหลัก

    4. หน่วยส่งออก มีหน้าที่แสดงผลของข้อมูลที่จัดเก็บ และผลที่ได้จากการประมวลผล
    แล้วส่งออกมาในรูปของรายงาน ภาพ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ
    ที่มา : http://202.143.132.2/e-learning/digital/tech02/01/2/computer/page3.html

  38. นางสาว กชมน ยิ้มเยื้อน ม.5/3 เลขที่ 19
    4. อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรบ้่าง
    อุปกรณ์รับส่งข้อมูล หมายถึงสื่อกลางที่ใช้เป็นเส้นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้รับกับผู้ส่ง ปัจจุบันมีอุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูล สำหรับการเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้หลายประเภทดังนี้

    สายโทรศัพท์ (Telephone Line) สายโทรศัพท์ เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ใช้กันมานาน ในระบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งเป็นสองลักษณะด้วยกันคือ

    สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (Unshield Twisted Pair : UTP) มีลักษณะเป็นสายทองแดงขนาดเล็ก มีฉนวนหุ้ม ในแต่ละคู่บิดเกลียวคู่เข้าด้วยกัน มีฉนวนหุ้มภายนอก ราคาถูก ติดตั้งง่าย มีความน่าเชื่อถือสูงในการเชื่อมต่อแบบ STAR แต่มีข้อเสียคือมีอัตราการส่งข้อมูลต่ำ มีระยะทางการส่งสัญญาณสั้น และสัญญาณรบกวนสูง

    สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shield Twisted Pair : STP) มีลักษณะเป็นสายทองแดง
    ขนาดเล็กตีเกลียวคู่ แต่ละคู่มีฉนวนหุ้มอีกชั้นเรียกว่า Shield เพื่อลดสัญญาณสอดแทรก(interference) และมีฉนวนหุ้มชั้นนอกเรียกว่า Outer Jacket มีข้อดีคือคุณภาพการรับส่งข้อมูลสูงกว่าสายแบบ UTPสัญญาณรบกวนน้อยกว่าสายแบบ UTP แต่ราคาสูงกว่า

    สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียล เป็นสายที่มีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูล ประกอบด้วยสายตัวนำสัญญาณเส้นหนึ่งอยู่ตรงกลาง เรียกว่า Inner Conductor หุ้มด้วยฉนวน Insulator Filter แล้วล้อมรอบด้วยตัวนำอีกชั้นหนึ่งทำหน้าที่เป็นสายดิน (Ground) เรียกว่า Outer Conductor สายโคแอกเชียลมีข้อดีเรื่องความเร็วสูงในการส่งข้อมูล สามารถส่งได้ทั้งสัญญาณเสียงวีดีโอและข้อมูล ติดตั้งง่าย แต่มีข้อเสียที่ราคาแพงและค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงด้วย

    สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic Cable) สายใยแก้วนำแสง เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ต้องการความเร็วสูงมาก ในสภาพแวดล้อมที่มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง ลักษณะสายสัญญาณประกอบด้วยเส้นใย (Fiber) ทำจากใยแก้วสองชนิด ที่มีดัชนีการสะท้อนแสงต่างกัน ชนิดหนึ่งเป็นแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก การทำงานจะมีไดโอดเปล่งแสง (LED : Light Emited Diode) หรือไดโอดแบบเลเซอร์ (Laser Diode) ปล่อยแสงที่เข้ารหัสข้อมูล โดยใช้ความถี่จึงสามารถส่งรหัสข้อมูล ได้หลายช่องทางตามความถี่ต่าง ๆ กัน อุปกรณ์รับส่งข้อมูลแบบเส้นใยแก้วนำแสง มีข้อดีคือรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง ใช้แสงในการส่งข้อมูล จึงไม่ต้องระมัดระวังเรื่องสัญญาณไฟฟ้ารบกวน มีการสูญเสียของสัญญาณต่ำ แต่มีข้อเสียคือราคาแพงกว่าสายสัญญาณประเภทอื่น ต้องใช้ความชำนาญในการติดตั้ง รับส่งข้อมูลได้ทางเดียว ต้องใช้สายสัญญาณสองเส้น เพื่อทำหน้าที่รับและส่งข้อมูล

    คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นไมโครเวฟ เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ใช้คลื่นวิทยุชนิดความถี่สูง เรียกว่าคลื่นไมโครเวฟ โดยอาศัยอากาศเป็นสื่อกลาง เหมาะสำหรับการสื่อสารระยะใกล้ ที่ไม่มีตึกหรือภูเขาระดับสูง บังการเดินทางของคลื่น ระหว่างอาคาร โดยต้องมีจานสัญญาณ ติดตั้งไว้บนเสาหรืออาคารสูง ๆ การรับส่งข้อมูลแบบนี้ เหมาะสำหรับบริเวณที่เดินสายลำบาก มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง ข้อเสียคือรับส่งสัญญาณได้ไม่ไกลมากนัก และต้องติดตั้งจานรับส่งสัญญาณบนเสาสูง ที่ไม่มีอาคารกีดขวางในทิศทางตรงกัน

    ดาวเทียม (Satellite) ดาวเทียม เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ใช้ดาวเทียม เป็นสถานีในการรับส่งสัญญาณข้อมูล กับสถานีทวนสัญญาณภาคพื้นดิน รับส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว่า 22,300 ตารางไมล์ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการกีดขวาง สัญญาณของภูมิประเทศ เช่น ภูเขา อาคารสูง สามารถ ส่งสัญญาณครอบคลุมได้ทุกพื้นที่ มีข้อเสียคือต้องลงทุน และใช้เทคโนโลยีระดับสูง
    ที่มา : http://forum.datatan.net/index.php/topic,149.0.html

  39. นางสาว จันทิมา ถนอมเกียรติ์ ม.5/3 เลขที่ 22
    2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร

    ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    – ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
    ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
    เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
    เราสามารถแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 5 หน่วยที่สำคัญ ดังนี้

    1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่ในการรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้า ได้แก่ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่องสแกนต่างๆ เช่น เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ฯลฯ
    2. หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทำการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป
    3. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit) ทำหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม หน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยคำนวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU หรือArithmetic and Logical Unit) และ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit)
    4. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storge) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจำหลักภายในเครื่องก่อนทำการประมวลผลโดย ซีพียู รวมทั้งเป็นแหล่งเก็บผลลัพท์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานในภายหลัง
    5. หน่วยแสดงข้อมูล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพท์จากการประมวลผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น

    – ซอฟต์แวร์ (software)
    หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้
    ที่มา :
    http://www.ban1gun.com/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3_86.html

  40. นางสาวจันทิมา นัคราจารย์ ม.5/3 เลขที่ 12

    2. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    – ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
    ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
    -ซอฟต์แวร์ (software)
    หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้

    ที่มา :http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5d10fd7f2cf779ea

  41. ชลธิชา ปราค์ทอง ม.5/3 เลขที่23

    3 การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การเก็บรักษาข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยการเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะทำด้วยมือ ซึ่งเป็นแฟ้ม เอกสารหรือ ด้วยคอมพิวเตอร์ ในรูปของแฟ้มข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล พอจะแบ่งเป็น 7 ประเภท

    1.แฟ้มข้อมูลหลัก เป็นเพื่อที่เก็บข้อมูลที่บรรจุข้อมูลหลักซึ่งอาจจะแยกออกเป็ยแต่ละงาน

    2.แฟ้มข้อมูลย่อย เป็นแฟ้มที่รวบรวมขึ้นมาใหม่ล่าสุดสำหรับการปลับข้อมูลหลักให้เป็นปัจจุ

    3.แฟ้มดัชนี เป็ยแฟ้มเก็บดัชนีคล้ายๆกับบัตรรายการ

    4.แฟ้มตรางอ้างอิง เป็นการรวบรวมข้อมูลที่ใช้อ้างอิง สำหรับตรวจสอบความถูกต้องเกี่ยวกับมาตรฐาน

    5.แฟ้มข้อมูลสรุป เป็นแฟ้มของการรวบรวมข้อมูลโดยสรุปเพื่อนำเสนอรายงานต่อไป

    6.แฟ้มข้อมูลเก่า เป็นแฟ้มที่ใช้สำหรับการเปรียบเทียบ

    7.แฟ้มข้อมูลศำรอง ในการจัดเก็บข้อมูลโดยสรุปข้อมูลความปลอดภัย ป้องกันความสูญหายของข้อมูลในการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ได้แก่ การจำแนก การจัดเรียง หรือการจัดเก็บตามhttp://guru.google.co.th/guru/thread?tid=44e46d9d198c572b

  42. นางสาว อัจฉรา สายบัว เลขที่ 18 ม.5/3
    2.ฮาร์เเวร์เเละซอฟเเวร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
    ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่าง
    ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเ?ป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4c92da41dac21a3e

ส่งความเห็นที่ Gu Nick Naja ยกเลิกการตอบ